บทความ

โรคหัวใจ

รูปภาพ
  แชร์ Facebook Messenger Twitter Line โรคหัวใจที่สำคัญมีหลายประเภทและมีอาการแตกต่างกัน ควรรู้ให้เท่าทัน เพื่อให้พร้อมรับมือได้อย่างถูกวิธี 1) ภาวะหัวใจล้มเหลว / หัวใจอ่อนกำลัง (Heart Failure) ภาวะหัวใจล้มเหลว ไม่ได้หมายความว่า หัวใจจะหยุดทำงาน แต่เป็นภาวะที่หัวใจไม่สามารถทำงานได้ดีอย่างที่ควรจะเป็น ภาวะที่หัวใจอ่อนแอหรืออ่อนกำลังลง ทำให้การทำสิ่งต่าง ๆ ซึ่งปกติเป็นเรื่องง่ายกลายเป็นเรื่องยากมากขึ้น แต่ก็ยังมีวิธีต่าง ๆ ที่ผู้ป่วยและแพทย์จะร่วมมือกันเพื่อช่วยให้หัวใจกลับมาทำงานได้ดีขึ้น 2) หลอดเลือดหัวใจตีบตัน โรคหลอดเลือดหัวใจตีบตันเป็นโรคหัวใจที่พบบ่อยในผู้ใหญ่ ปัจจัยเสี่ยงสำคัญ ได้แก่ อายุที่มากขึ้น การสูบบุหรี่จัด ภาวะไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และการไม่ออกกำลังกายเป็นประจำ ทำให้มีการตีบตันในหลอดเลือด เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดได้ อาการ  เจ็บแน่นหน้าอกหรือเหนื่อยง่าย จุกแน่น เสียดหรือแสบร้อนในบริเวณทรวงอก เหงื่อออก ใจสั่น เป็นลม อาจเป็นแบบฉับพลันและรุนแรงจนทำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือที่เรียกว่า หัวใจพิบัติ (Heart Attack) ผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตสูงหาก
รูปภาพ
  3.1 Hardware  ... เป็น ส่วนที่ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สามารถมองเห็นและสัมผัสได้ เช่น o       ไมโครโปรเซสเซอร์ o       หน่วยความจำ   o       อุปกรณ์เก็บข้อมูล   o       อุปกรณ์รับข้อมูล     o       อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล

วิชาการออกแบบระบบไฟฟ้า

รูปภาพ
 วิชาการออกแบบระบบไฟฟ้า ธนาวิทย์

วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศแบบอินเวอร์เตอร์

รูปภาพ

วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศแบบเดิม 1 เฟส

รูปภาพ

สารทำความเย็น

รูปภาพ
สารทำความเย็น คืออะไร “สารทำความเย็น” หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ “น้ำยาแอร์” คือสารเคมีที่มีคุณสมบัติไม่มีพิษ ไม่มีกลิ่น จุดเดือดต่ำกว่าสารทั่วไป เมื่อผ่านกระบวนการอัดสารทำความเย็นให้เป็นไอ ไหลเวียนภายในระบบเครื่องปรับอากาศและสร้างความเย็นสบายให้แก่เรา ปัจจุบันสารทำความเย็นที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศสำหรับที่อยู่อาศัย มีอยู่ 3 ประเภทหลักๆ ได้แก่ R22, R410A และ R32 ซึ่งสารทำความเย็น R32 นี้ ไดกิ้นถึงเป็นผู้ผลิตเครื่องปรับอากาศรายแรกของประเทศไทยและของโลกที่ริเริ่มพัฒนาและนำมาใช้ไปทั่วโลก แล้วทำไมไดกิ้นถึงใช้ R32 ? ตามข้อตกลงในพิธีสารมอนทรีออลเมื่อปี 1987 ที่ให้ความสำคัญกับการลดการทำลายชั้นโอโซน ทั่วโลกจึงเปลี่ยนจากการใช้สารทำความเย็น R22 มาเป็น R410A ซึ่งแม้ว่าจะลดผลกระทบในการทำลายบรรยากาศชั้นโอโซนได้อย่างดี แต่ก็ยังก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนสูง จึงมีกระแสการเปลี่ยนแปลงสารทำความเย็นที่ให้ความสำคัญต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น ไดกิ้น ในฐานะผู้นำนวัตกรรมด้านระบบปรับอากาศของโลกจึงริเริ่มใช้สารทำความเย็น R32 ในเครื่องปรับอากาศสำหรับที่อยู่อาศัยเป็นครั้งแรก ซึ่งสารทำความเย็น R32 นี้ มีประสิ

การออกแบบระบบไฟฟ้า

เอกสารประกอบการสอน วิชา การออกแบบระบบไฟฟ้า ภาคเรียนที่ 2/2560 ปกเอกสาร ข้อมูลทั่วไปรายวิชาออกแบบระบบไฟฟ้า สัปดาห์ที่ 1 : หลักการเบื้องต้นในการออกแบบไฟฟ้า สัปดาห์ที่ 2 : ระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4 สัปดาห์ที่ 5 สัปดาห์ที่ 6 สัปดาห์ที่ 7 สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 9 : สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 10 สัปดาห์ที่ 11 สัปดาห์ที่ 12 สัปดาห์ที่ 13 สัปดาห์ที่ 14 สัปดาห์ที่ 15 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า สำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3   01    02    03 บทที่ 4 บทที่ 5 บทที่ 6 บทที่ 7 บทที่ 8 บทที่ 9 บทที่ 10 บทที่ 11 บทที่ 12 บทที่ 13 บทที่ 14 เอกสารประกอบการสอนมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า powerpoint บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3-1 บทที่ 3-2 บทที่ 4 บทที่ 5 บทที่ 1 : หลักการเบื้องต้น บทที่ 2 : ระบบการส่งกำลังไฟฟ้า บทที่ 3 : สายไฟฟ้า บทที่ 4 : ท่อสาย บทที่ 5 : บริภัณฑ์ไฟฟ้า บทที่ 6 : การต่อลงดิน บทที่ 7 : วงจรย่อยและสายป้อนฯ บทที่ 8 : วงจรย่อยและสายป้อนมอเตอร์ บทที่ 9 : การคำนวณโหลด บทที่ 10 : วงจรประธาน บทที 11 :